ออกสื่อTV และข่าวประชาสัมพันธ์ ภายในปี 2557

..................

     
 

> 18 ธันวาคม 2557 ที่นั่งนิรภัย( car seat) สำหรับเด็ก ช่อง3

 
 
 
     
 

> 17 ธันวาคม 2557 ที่นั่งนิรภัย( car seat) สำหรับเด็ก ช่องPPTV HD

 
 
 
     
 

> 09 ธันวาคม 2557 ร่วมแถลงข่าว “การดูแลช่วยเหลือและคุ้มครองเด็กนักเรียน”

 
 
 
     
 

> 01 ธันวาคม 2557 ไทยจับมืออาเซียน ร่วมเตือนภัยเด็ก จากอุบัติเหตุรถยนต์

 
 
 
     
     
 

> 27 พฤศจิกายน 2557 ของเล่นไม่ปลอดภัย ช่องoneHD

 
     
 
 
     
 

> 24 พฤศจิกายน 2557 องค์การช่วยเหลือเด็ก (Save the Children) ขอสัมภาษณ์ เรื่องความปลอดภัยในเด็กฯ

 
     
 
 
     
     
 

> 06 พฤศจิกายน 2557 ทีมข่าวช่องเนชั่น สัมภาษณ์เรื่องมวยเด็ก

 
     
 
 
     
 
 
     
 

> 05 พฤศจิกายน 2557 ช่องoneHD ขอสัมภาษณ์ เกี่ยวกับอุบัติเหตุภัยประทัดกับเด็ก

 
     
 
 
     
 
 
     
 

> 21 ตุลาคม 2557 ทีมข่าวช่อง 9 ขอสัมภาษณ์ เรื่อง สารตะกั่วทำลายสมอง-สุขภาพเด็กๆ

 
     
 
 
     
 
 
     
 

> 10 ตุลาคม 2557 สกู๊ปข่าวทีวีช่อง 3 สัมภาษณ์เรื่องของเล่น-ของใช้อันตราย

 
     
 
 
     
 

> 07 ตุลาคม 2557 ผู้เข้ารอบงานประกวดหนังสารคดีเชิงข่าว
รายการ "เรื่องจริงผ่านจอ" ขอสัมภาษณ์ อุบัติเหตุจากเครื่องเล่นในสนามเด็กเล่น

 
     
 
 
     
 
 
     
 

> 02 ตุลาคม 2557 ทีมข่าวเจาะประเด็น ช่อง7 ขอสัมภาษณ์ เรื่อง มวยเด็ก

 
     
 
 
     
 
 
     
 

> 05 กันยายน 2557 สำนักข่าว France 2 สัมภาษณ์เกี่ยวกับการลงพื้นที่บ่อขยะแพรกษา

 
     
 
 
     
 
 
     
 

> 21 สิงหาคม 2557 รายการมหัศจรรย์ พันธุ์กาย ช่อง9 ขอสัมภาษณ์เกี่ยวกับเรื่องของอุบัติเหตุจากความเร็ว

 
     
 
 
     
 

> 20 สิงหาคม 2557 เสวนา “เด็กกับปัญหาความรุนแรงและทารุณกรรม”
ในรายการTV สยามไท อัพเดท

 
     
 
 
     
 
 
     
 

> 19 สิงหาคม 2557 รายการทีวีช่อง13 สยามไทอัพเดท

เรื่อง..ภัยของเล่นเด็กและสิ่งแวดล้อมความไม่ปลอดภัยที่มีต่อเด็ก

 
     
 
 
     
 
 
     
 
 
     
 
> 11 สิงหาคม 2557 ทีมนักข่าวสปริงนิวส์ กรณีปัญหา "เด็กหาย" ปัญหาความไม่ปลอดภัยในเด็ก และถูกกระทำรุนแรง
 
     
 
 
     
 
> 08 สิงหาคม 2557 บันทึกเทปรายการสะพานสายรุ้ง ตอนภัยอุ้มบุญ
 
     
 
 
     
 
 
     
 
> 08 สิงหาคม 2557 ไทยรัฐTV ขอสัมภาษณ์ ในหัวข้อ ภัยฟ้าผ่า ในรายการ ต้องรอด
 
     
 
 
     
 
 
     
 
 
     
 
> 05 สิงหาคม 2557 รายการสะพานสายรุ้ง Ture 71 ในโครงการสื่อสร้างสังคมอุดมสุข มูลนิธิเด็ก
พูดคุยเกี่ยวกับ เรื่องอุปกรณ์เพื่อความปลอดภัยในเด็ก และอุบัติเหตุต่างๆที่เกิดขึ้นกับเด็ก
 
     
 
 
     
 
 
     
 
 
     
 
> 04 สิงหาคม 2557 ทีมงานศูนย์วิจัยฯ รพ.รามาฯหัวข้อ “ทำหนังเพื่อความปลอดภัยและลดการตายในเด็ก จากอุบัติเหตุและความรุนแรง”
"รายการสยามไทอัพเดท" ช่อง13สยามไทย
 
     
 
 
     
 
 
     
 
> 22 กรกฏาคม 2557 ทีมข่าวTNN ขอสัมภาษณ์ เรื่องลืมเด็กไว้ในรถ และวิธีการป้องกัน
 
     
 
 
     
 
> 22 กรกฏาคม 2557 ทีมข่าวค่ำไทยพีบีเอส เรื่องปัญหาผู้ใหญ่ลืมเด็กในรถ และการจัดระเบียบรถรับส่งนักเรียน
 
     
 
 
     
 
 
     
 
 
     
 
> 22 กรกฏาคม 2557 รายการ...ที่นี่ไทยพีบีเอส สัมภาษณ์ กรณีเด็กถูกทิ้งให้ตายในรถ
 
     
 
 
     
 
 
     
 
> 20 กรกฏาคม 2557 ทีมงานช่อง 3 FAMILY ขอสัมภาษณ์เกี่ยวกับ ของเล่นที่ชื่อว่า “เบบี้คริสตัล”
 
     
 
 
     
 
 
     
 
> 08 กรกฏาคม 2557 ให้สัมภาษณ์ ช่อง3 กรณีเคส น้องแก้ม ถูกฆ่าข่มขืนบนรถไฟ
 
     
 
 
     
 
 
     
 
> 07 กรกฏาคม 2557 ให้สัมภาษณ์ รายการคลีนิคลดอุบัติเหตุ
เกี่ยวกับความเป็นมาของศูนย์วิจัยฯ และการเก็บข้อมูลทางงานวิจัยต่างๆ
 
     
 
 
     
 
> 17 มิถุนายน 2557 ให้สัมภาษณ์ รายการ เปิดปม(ไทยพีบีเอส) เรื่อง...เด็กกับภัยจมน้ำ.
 
     
 
 
     
 
 
     
 
 
     
 
> 16 พฤษภาคม 2557 ให้สัมภาษณ์ ทีมข่าวแตกประเด็นทางช่อง3 เกี่ยวกับเบาะนิรภัยสำหรับเด็กในรถยนต์
 
     
 
 
     
 
 
     
 
 
     
 
> 10 เมษายน 2557 สงกรานต์นี้ใช้เบาะนิรภัยสำหรับเด็ก
 
     
 
 
     
 
 
     
 
 
     
 
 
     
 
 
     
 
> 09 เมษายน 2557 ให้สัมภาษณ์กับทีมงานเรื่องจริงผ่านจอ คลิปเด็กจมน้ำ
 
     
 
 
     
 
 
     
 
> 09 เมษายน 2557 ให้สัมภาษณ์กับทีมข่าว 365 POST NEWS  
 
     
 
 
     
     
     

...............

Playlist ออกสื่อและประชาสัมพันธ์ปี 2557

ศูนย์วิจัยเพื่อสร้างเสริมความปลอดภัยและป้องกันการบาดเจ็บในเด็ก

ออกสื่อและประชาสัมพันธ์ปี 2557

...............

เกี่ยวกับเรา

ในปี 2008 พบว่าจำนวนเด็กตายปีละล้านคน ด้วยอุบัติเหตุและความรุนแรง ครึ่งหนึ่งของเด็กตายเป็นเด็กแถบ ทวีป South East Asia ส่วนในประเทศไทยตาย 3,000 คน

อันดับ 1. จมน้ำ 1,500 ราย

อันดับ 2. จราจร 700-800 ราย (จากการเดินถนน, มอเตอร์ไซด์)

...........................

สาเหตุการตายในเด็กเนื่องมาจาก

****

ปัจจัยทางร่างกาย

เด็กมีความเสี่ยงเนื่องจาก ศีรษะใหญ่ประมาณ 60% ของร่างกาย รอยต่อของกะโหลกศีรษะยังไม่ปิด เกิดเลือดออกง่าย กระดูกต้นคอหักง่ายเนื่องจากหัวหนัก กระดูกซี่โครงหักง่าย เลือดออกในปอดง่าย ปกติในเด็กเล็กตับม้ามแล่บออกมา ทำให้ตับแตกม้ามแตกได้ง่าย

****

ด้านพัฒนาการเรื่องการเรียนรู้

เด็กเริ่มเสี่ยงตั้งแต่อายุ 6 เดือน เพราะเด็กเริ่มมีการเคลื่อนไหว ในเด็กวัย 1 ปี เกิดอุบัติเหตุได้ง่าย เพราะเด็กเริ่มเรียนรู้สิ่งแวดล้อมได้เอง พัฒนาการด้านกล้ามเนื้อมัดใหญ่และมัดเล็กค่อนข้างดี แต่ไม่รู้จักการระวังภัยด้วยตัวเอง และ เมื่อ 1 ปีครึ่ง เด็กเริ่มรู้บางเรื่องที่ผู้ใหญ่บอก แต่ยังขาดประสบการณ์ ทำให้เกิดการตายในช่วงวัยนี้มาก พบว่า เด็กตายในช่วงอายุ น้อยกว่า 6 ปีกับช่วงวัยรุ่นมาก ในช่วงวัยเรียนไม่ค่อยเสี่ยง

****

ปัจจัยทางสังคม

ต้องดูว่าครอบครัวอยู่ในสิ่งแวดล้อมเสี่ยงหรือไม่ เศรษฐานะต่ำพบว่าเสี่ยงมากกว่าครอบครัวที่เศรษฐานะดี ขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมของชุมชนแต่ละชุมชน การดูแลของครอบครัว ระบบเศรษฐกิจของครอบครัว สื่อที่มีผลกระทบต่อเด็กและเยาวชน กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค บรรทัดฐานของสังคม การนำไปสู่แนวทางการแก้ไข สร้างความคิดและความตระหนัก สร้าง Empowerment community ทำให้ชุมชนในการวิเคราะห์ถึงปัญหาการตายในเด็ก ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เหมาะสมลดความเสี่ยง ประเมินผลการทำงานอย่างต่อเนื่อง กระตุ้นให้มีการเชื่อมโยงภาครัฐ ชุมชน และ policy เข้าด้วยกันโดยการผ่านสื่อในการกระตุ้น การแก้ไขปัญหาเป็นทีมสหวิชาชีพ และแก้ไขปัญหาพร้อมกัน กระตุ้นให้มีการเคลื่อนไหวของชุมชนและสังคมที่เด็กและเยาวชนอาศัย

****

.......................

กลไกขับเคลื่อนองค์กร

ชุมชนปลอดภัย

คือการดำเนินงานเพื่อสร้างเสริมความปลอดภัยในชุมชน

โดยมุ่งเน้นในการสร้างพฤติกรรมปลอดภัย และไม่เสี่ยงต่อการบาดเจ็บ ทั้งส่วนบุคคลและส่วนร่วมและการสร้างสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัย ทั่งเชิงกายภาพ เทคโนโลยี การจัดการโดยมีตัวชี้วัดในเรื่องการสร้างการมีส่วนร่วมของคนกลุ่มต่างๆ ในชุมชน เชื่อมโยงองค์กรต่างๆที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย

ให้ความสำคัญเป็นพิเศษกับกลุ่มคนและสิ่งแวดล้อม

เช่น เด็กพิการด้อยโอกาส โครงการโรงเรียนปลอดภัย มองให้เห็นได้ทั้งขนาดและสาเหตุของปัญหา การบาดเจ็บ เน้นเอกสารการบันทึก เฝ้าระวัง บันทึกจุดเสี่ยง มีการสำรวจอย่างต่อเนื่อง ประเมินผลได้ทั้งผลดำเนินงานและ ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายในชุมชน เรียนรู้และดำเนินการโดยชุมชนใดชุมชนหนึ่ง องค์ความรู้ที่ได้สามารถนำไปเป็นแบบอย่างแก่ชุมชนอื่น และชักนำให้เกิดนโยบายที่สำคัญในระดับชาติได้